วิเคราะห์ความรู้ทางฟิสิกส์จากของเล่น ทดลองและอธิบายความรู้ทางฟิสิกส์จากของเล่น ผลิตของเล่นทางฟิสิกส์จากวัสดุต่างๆ
Thursday, March 31, 2016
Wednesday, March 30, 2016
หลักการของเล่นพื้นบ้านทางฟิสิกส์ 028
กังหันลูกยาง
กังหันลูกยาง ที่มีส่วนประกอบของกระบอกจับ ที่ทำจากกระบอกไม้ไผ่หรือเมล็ดของต้นไม้ขนาดใหญ่ เจาะรูตรงกลางเพื่อใส่ใบพัด และเจาะรูด้านข้างเพื่อใส่เชือกให้ผูกติดกับแกนของใบพัด และส่วนของใบพัดที่ทำจากไม้ไผ่เหลาให้แบนและยึดติดกับแกนกลาง เวลาจะเล่นให้ดึงเชือกตรงแกนกลางของใบพัด จะทำให้ใบพัดหมุนไปข้างหน้า แล้วใบพัดก็จะหมุนกลับมาเองเพราะความเฉื่อย แต่ถ้ามีการดึงอย่างต่อเนื่องกังหันก็จะหมุนไปเรื่อยๆ เช่นเดียวกับใบพัดของเครื่องบินของเล่นแบบนี้จะใช้หลักการ เกี่ยวกับความเฉื่อย โดยความเฉื่อย คือ การรักษาสภาพความสมดุลของวัตถุ อย่างเมื่อมีแรงดึงเท่าไรก็จะมีแรงดึงกลับเท่านั้น มีอยู่ในวัตถุไม่ว่าจะหยุดหรือเคลื่อนที่ เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเฉื่อยจะรักษาการเคลื่อนที่ให้คงที่ อาทิเมื่อวัตถุหมุน ความเฉื่อยจะช่วยให้หมุนไปอย่างต่อเนื่อง
ลูกหวือ
ลูกหวือจะใช้หลักการ เกี่ยวกับความเฉื่อย โดยความเฉื่อย คือ การรักษาสภาพความสมดุลของวัตถุ อย่างเมื่อมีแรงดึงเท่าไรก็จะมีแรงดึงกลับเท่านั้น มีอยู่ในวัตถุไม่ว่าจะหยุดหรือเคลื่อนที่ เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเฉื่อยจะรักษาการเคลื่อนที่ให้คงที่ อาทิเมื่อวัตถุหมุน ความเฉื่อยจะช่วยให้หมุนไปอย่างต่อเนื่อง
ฉับโผง
การเล่นจะใช้ลูกกระสุน ที่มีขนาดใหญ่กว่ารูไม้ไผ่ อัดใส่รูกระบอกไม้ไผ่นั้น แล้วใช้แกนดันไปให้สุดปลาย ส่วนนี้ชาวบ้าน เพื่อกันลมไม่ให้ออกไปเมื่อเวลาจะใช้ฉับโผงยิงทำให้เกิดเสียงดังนั้น จะใช้ลูกกระสุนอีกลูกหนึ่งยัดไปที่รูปากกระบอก ลูกกระสุนยังจะต้องใหญ่กว่ารู ใช้แกนไม้ส่วนด้ามดันหรือกระแทกลูกกระสุนไปที่ปลายกระบอกฉับโผงอย่างแรงและรวดเร็วแรงอัดของอากาศจะระเบิดทำให้เกิดเสียงดัง ลูกปืนส่วนแรกก็จะพุ่งออกไปทางลำกล้อง เพราะแรงอัดของอากาศหากลูกกระสุนถูกตัวคนจะเกิดอาการเจ็บปวดได้ และกระสุนที่ใช้คือ กระดาษแช่น้ำ ปั้นเป็นลูกกลมๆอัดใส่รูให้แน่นยิงเสียงดังได้เหมือนกันเวลาถูกตัวในระยะที่ยิงใส่กัน จะไม่ค่อยเจ็บเหมือถูกลูกกระสุนอื่น
กังหันลูกยาง ที่มีส่วนประกอบของกระบอกจับ ที่ทำจากกระบอกไม้ไผ่หรือเมล็ดของต้นไม้ขนาดใหญ่ เจาะรูตรงกลางเพื่อใส่ใบพัด และเจาะรูด้านข้างเพื่อใส่เชือกให้ผูกติดกับแกนของใบพัด และส่วนของใบพัดที่ทำจากไม้ไผ่เหลาให้แบนและยึดติดกับแกนกลาง เวลาจะเล่นให้ดึงเชือกตรงแกนกลางของใบพัด จะทำให้ใบพัดหมุนไปข้างหน้า แล้วใบพัดก็จะหมุนกลับมาเองเพราะความเฉื่อย แต่ถ้ามีการดึงอย่างต่อเนื่องกังหันก็จะหมุนไปเรื่อยๆ เช่นเดียวกับใบพัดของเครื่องบินของเล่นแบบนี้จะใช้หลักการ เกี่ยวกับความเฉื่อย โดยความเฉื่อย คือ การรักษาสภาพความสมดุลของวัตถุ อย่างเมื่อมีแรงดึงเท่าไรก็จะมีแรงดึงกลับเท่านั้น มีอยู่ในวัตถุไม่ว่าจะหยุดหรือเคลื่อนที่ เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเฉื่อยจะรักษาการเคลื่อนที่ให้คงที่ อาทิเมื่อวัตถุหมุน ความเฉื่อยจะช่วยให้หมุนไปอย่างต่อเนื่อง
ลูกหวือ
ลูกหวือจะใช้หลักการ เกี่ยวกับความเฉื่อย โดยความเฉื่อย คือ การรักษาสภาพความสมดุลของวัตถุ อย่างเมื่อมีแรงดึงเท่าไรก็จะมีแรงดึงกลับเท่านั้น มีอยู่ในวัตถุไม่ว่าจะหยุดหรือเคลื่อนที่ เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเฉื่อยจะรักษาการเคลื่อนที่ให้คงที่ อาทิเมื่อวัตถุหมุน ความเฉื่อยจะช่วยให้หมุนไปอย่างต่อเนื่อง
ฉับโผง
การเล่นจะใช้ลูกกระสุน ที่มีขนาดใหญ่กว่ารูไม้ไผ่ อัดใส่รูกระบอกไม้ไผ่นั้น แล้วใช้แกนดันไปให้สุดปลาย ส่วนนี้ชาวบ้าน เพื่อกันลมไม่ให้ออกไปเมื่อเวลาจะใช้ฉับโผงยิงทำให้เกิดเสียงดังนั้น จะใช้ลูกกระสุนอีกลูกหนึ่งยัดไปที่รูปากกระบอก ลูกกระสุนยังจะต้องใหญ่กว่ารู ใช้แกนไม้ส่วนด้ามดันหรือกระแทกลูกกระสุนไปที่ปลายกระบอกฉับโผงอย่างแรงและรวดเร็วแรงอัดของอากาศจะระเบิดทำให้เกิดเสียงดัง ลูกปืนส่วนแรกก็จะพุ่งออกไปทางลำกล้อง เพราะแรงอัดของอากาศหากลูกกระสุนถูกตัวคนจะเกิดอาการเจ็บปวดได้ และกระสุนที่ใช้คือ กระดาษแช่น้ำ ปั้นเป็นลูกกลมๆอัดใส่รูให้แน่นยิงเสียงดังได้เหมือนกันเวลาถูกตัวในระยะที่ยิงใส่กัน จะไม่ค่อยเจ็บเหมือถูกลูกกระสุนอื่น
หลักการทางฟิสิกส์ของของเล่นพื้นบ้าน 011
หลักการทางฟิสิกส์ของของเล่นพื้นบ้าน
1.ฉับโผง
จะสร้างแรงอัดอากาศ เมื่อสัมผัสกับลูกกระสุน จะสามารถกั้นอากาศไว้ได้ เมื่อกระสุนลูกแรกที่บรรจุเข้าไปด้านหน้ากระบอกกั้นอากาศไว้ แล้วกระสุนลูกที่สองตามหลังระหว่างลูกแรกและลูกอัดตามหลังมีอากาศอัดแน่นตามแรงดันของผู้เล่น ยิ่งดันแรง เสียงจะยิ่งดัง และไปได้ไกล หลักการนี้ จะเป็นหลักการเดียวกันกับปืนลูกซอง
2.ลูกหวือ
เกี่ยวข้องกับความเฉื่อย เมื่อเราหมุนเชือกจนตึงแล้วแล้วดึงออกมันจะหมุน เมื่อหมุนจนสุดเชือกก็จะหมุนกลับอีกครั้ง จะเป็นแบบนี้ไปอย่างต่อเนื่องเรื่อยๆ ถ้ายังคงรักษาสภาพการหมุนยังคงที่และหมุนอย่างต่อเนื่อง จะไม่หยุดถ้าเราใช้การผ่อนแรงที่เท่ากันเสมอ
3.คอปเตอร์ไม้ไผ่
ใบพัดของคอปเตอร์จะทำงานเมื่อมีหมุนที่ก้านหมุน เพราะขณะที่ใบพัดหมุนตัดอากาศ ด้านบนของใบพัดที่ถูกทำออกมาให้มีผิวที่นูนกว่าด้านล่างจะทำให้อากาศที่วิ่งผ่านมา มีการจัดตัวเป็นคลื่นรูปไซน์ทำให้ระหว่างใบพัดและอากาศเป็นช่องว่าง แต่ในขณะเดียวกันอากาศที่วิ่งผ่านบริเวณคอคอปเตอร์ซึ่งไม่มีช่องว่างเลยจะมีความหนาแน่นที่สูงกว่า ซึ่งความหนาแน่นที่สูงกว่านี้เองทำให้เกิดการยกตัวขึ้น ตัวของคอปเตอร์จึงลอยขึ้น ซึ่งเป็นเรื่องปกติเหมือนหลักการทำงานของปีกเครื่องบิน
1.ฉับโผง
จะสร้างแรงอัดอากาศ เมื่อสัมผัสกับลูกกระสุน จะสามารถกั้นอากาศไว้ได้ เมื่อกระสุนลูกแรกที่บรรจุเข้าไปด้านหน้ากระบอกกั้นอากาศไว้ แล้วกระสุนลูกที่สองตามหลังระหว่างลูกแรกและลูกอัดตามหลังมีอากาศอัดแน่นตามแรงดันของผู้เล่น ยิ่งดันแรง เสียงจะยิ่งดัง และไปได้ไกล หลักการนี้ จะเป็นหลักการเดียวกันกับปืนลูกซอง
2.ลูกหวือ
เกี่ยวข้องกับความเฉื่อย เมื่อเราหมุนเชือกจนตึงแล้วแล้วดึงออกมันจะหมุน เมื่อหมุนจนสุดเชือกก็จะหมุนกลับอีกครั้ง จะเป็นแบบนี้ไปอย่างต่อเนื่องเรื่อยๆ ถ้ายังคงรักษาสภาพการหมุนยังคงที่และหมุนอย่างต่อเนื่อง จะไม่หยุดถ้าเราใช้การผ่อนแรงที่เท่ากันเสมอ
3.คอปเตอร์ไม้ไผ่
ใบพัดของคอปเตอร์จะทำงานเมื่อมีหมุนที่ก้านหมุน เพราะขณะที่ใบพัดหมุนตัดอากาศ ด้านบนของใบพัดที่ถูกทำออกมาให้มีผิวที่นูนกว่าด้านล่างจะทำให้อากาศที่วิ่งผ่านมา มีการจัดตัวเป็นคลื่นรูปไซน์ทำให้ระหว่างใบพัดและอากาศเป็นช่องว่าง แต่ในขณะเดียวกันอากาศที่วิ่งผ่านบริเวณคอคอปเตอร์ซึ่งไม่มีช่องว่างเลยจะมีความหนาแน่นที่สูงกว่า ซึ่งความหนาแน่นที่สูงกว่านี้เองทำให้เกิดการยกตัวขึ้น ตัวของคอปเตอร์จึงลอยขึ้น ซึ่งเป็นเรื่องปกติเหมือนหลักการทำงานของปีกเครื่องบิน
Tuesday, March 29, 2016
กิจกรรมวันนี้
1. เขียนคอมเมนต์ในบล็อกที่กำหนด
2. ศึกษาการทำงานของจรวดขวดน้ำ
3.ตกลงเรื่องโครงงาน
4. กิจกรรมที่ต้องไปทำเตรียมหัวจุกค็อกพร้อมอะแดปเตอร์
5. ออกแบบร่มให้ลอยบรรทุกไข่ถึงพื้นไม่ให้แตก
2. ศึกษาการทำงานของจรวดขวดน้ำ
3.ตกลงเรื่องโครงงาน
4. กิจกรรมที่ต้องไปทำเตรียมหัวจุกค็อกพร้อมอะแดปเตอร์
5. ออกแบบร่มให้ลอยบรรทุกไข่ถึงพื้นไม่ให้แตก
จรวดขวดน้ำ
อุปกรณ์ที่ใช้ 1 ขวดเปล่า
2. แผ่นโฟมแข็ง
3. เทปกาวเหนียว
4. จุกค็อก
5. ปั้มมือหรือเท้า พร้อมเข็มอะแดปเตอร์ให้ลมผ่านได้ออกไม่ได้
ขั้นตอนวิธีการ 1. ดันเข็มอะแดปเตอร์ให้ทะลุจุกค็อก
2. ตัดคาร์ดโฟมแข็งเป็นครีบจรวจและปลายแหลมจรวด ติดครีบด้วยเทปกาวเหนียว และปลายจรวจให้แข็งแรง ให้วางจรวดได้ด้วยครีบ
3. เติมน้ำลงในขวด 1 ใน 4 ของขวด แล้วปิดด้วยจุกค็อกที่ติดอะแดบเตอร์สำหรับเติมลม
4. ออกไปกลางแจ้งของสนาม วางตัวจรวจด้วยครีบ ต่อปั้มอากาศเข้าทางอแดปเตอร์ที่จุกค็อก
5. ปั้มเอาอากาศเข้าไปในขวดไม่กี่วินาที่จุกค็อกจะถูกดันออกมาพร้อมน้ำดันให้จรวจเคลื่อนที่ไปข้างบน
หลักการทำงาน อธิบายได้ด้วยกฏของนิวตันข้อที่ 3 เช่นเดียวกับการปล่อยจรวดจริง
ให้อธิบายการทำงานในรายละเอียด มีตัวแปรอะไรบ้างที่จะทำให้จรวจไปได้ไกล และได้สูง ให้เขียนเป็นคอมเมนตในบล็อกนี้
2. แผ่นโฟมแข็ง
3. เทปกาวเหนียว
4. จุกค็อก
5. ปั้มมือหรือเท้า พร้อมเข็มอะแดปเตอร์ให้ลมผ่านได้ออกไม่ได้
ขั้นตอนวิธีการ 1. ดันเข็มอะแดปเตอร์ให้ทะลุจุกค็อก
2. ตัดคาร์ดโฟมแข็งเป็นครีบจรวจและปลายแหลมจรวด ติดครีบด้วยเทปกาวเหนียว และปลายจรวจให้แข็งแรง ให้วางจรวดได้ด้วยครีบ
3. เติมน้ำลงในขวด 1 ใน 4 ของขวด แล้วปิดด้วยจุกค็อกที่ติดอะแดบเตอร์สำหรับเติมลม
4. ออกไปกลางแจ้งของสนาม วางตัวจรวจด้วยครีบ ต่อปั้มอากาศเข้าทางอแดปเตอร์ที่จุกค็อก
5. ปั้มเอาอากาศเข้าไปในขวดไม่กี่วินาที่จุกค็อกจะถูกดันออกมาพร้อมน้ำดันให้จรวจเคลื่อนที่ไปข้างบน
หลักการทำงาน อธิบายได้ด้วยกฏของนิวตันข้อที่ 3 เช่นเดียวกับการปล่อยจรวดจริง
ให้อธิบายการทำงานในรายละเอียด มีตัวแปรอะไรบ้างที่จะทำให้จรวจไปได้ไกล และได้สูง ให้เขียนเป็นคอมเมนตในบล็อกนี้
ลอย จม
อุปกรณ์ที่ใช้ 1. ดินน้ำมัน 2. ฝาปิดปากกา 3. คลิปหนีบกระดาษ 4. คีมตัดลวด 5. แก้วน้ำ 6. ขวดปล๊าสติก
ขั้นตอนวิธีการ 1. ปลายฝาปากกายึดกับดินน้ำมันและยึดตะขอจากคลิปหนีบกระดาษ
2. นำไปลอยในแก้วน้ำให้เริ่มลอยได้พอดี
3. เติมน้ำในขวดให้เกือบเต็ม แล้วนำชุดฝาปิดปากกาตาม 2 ใส่ในขวด แล้วปิดโดยหมุนเกลียวฝาปิดให้แน่น
4. ถ้าใช้มือบีบขวด ฝาปิดปากกาหรือตัวดำน้ำจะจมหรือดำน้ำลงไปก้นขวด เมื่อปล่อยมือไม่บีบ ตัวดำน้ำจะเคลื่อนขึ้นมาอีกครั้ง
4. ถ้าใช้มือบีบขวด ฝาปิดปากกาหรือตัวดำน้ำจะจมหรือดำน้ำลงไปก้นขวด เมื่อปล่อยมือไม่บีบ ตัวดำน้ำจะเคลื่อนขึ้นมาอีกครั้ง
เล่นเกม โดย ให้ดำน้ำไปเกี่ยวคริบหนีบกระดาษขึ้นมาให้ได้
ให้อธิยายการจมลอยของเรือดำน้ำ โดยแต่ละคอนเขียนแสดงความคิดเห็นในบล็อกนี้
Friday, March 25, 2016
หลักการทางฟิสิกส์ของของเล่นพื้นบ้าน 022
1. จับโป้ง ภาษาอีสานจะเรียกว่า บั้งโผล๊ะ ---> การเล่นจับโป้ง(บั้งโผล๊ะ) ต้องเอากระดาษที่เปียกนำมาทำเป็นกระสุน เพื่อที่จะนำไปอัดใส่รูกระบอกไม่ไผ่ ซึ่งกระสุนที่ใส่จะต้องใหญ่กว่ารูของกระบอกไม้ไผ่ และจะใช้แกนไม้ส่วนที่เป็นด้ามดันหรือกระแทรกลูกกระสุนไปที่ปลายกระบอกจับโป้งอย่างแรงและรวดเร็ว ซึ่งจะทำให้แรงอัดของอากาศจะระเบิดทำให้เกิดเสียงดัง ลูกปืนส่วนที่เป็นกระดาษจะพุ่งออกไปทางลำกล้องของกระบอกเพราะแรงอัดของอากาศหากลูกกระสุนถูกตัวในระยะที่ยิงใส่กันจะไม่ค่อยเจ็บเหมือนลูก กระสุนอื่นๆ ---> ได้มีการนำไปประยุกต์ ทำเป็นปืนอัดลม โดยทำรูปร่างเหมือนปืน ใช้แรงอัดลมให้ระเบิด ส่วนกระสุนปืนจะใช้ไม้โสน หรือจุกขวดต่างๆที่ทำด้วยไม้ หรือในปัจจุบันนี้ได้มีการใช้ลูกปัดมาเป็นกระสุน
2. กำหมุน หรือที่เรียกว่า คอปเตอร์ไม้ไผ่ ---> การดึงเชือกทำให้ใบพัดหมุน ในลักษณะเดียวกันกับล้อและเพลา โดยเราออกแรงที่ก้านไม้ซึ่งทำหน้าที่เป็นเพลาหลังและจากปล่อยเชือกแล้ว ใบพัดก็ยังคงหมุนต่อไป เพราะ ความเฉื่อย ---> แบบเดียวกับการถีบจักรยาน แม้หยุดถีบล้อก็ยังคงหมุนสักพักด้วยความเฉื่อย การหมุนของใบพัดจะม้วนเชือกกลับเข้าไปเก็บรอบก้านไม้ ทำให้เราสามารถดึงเชือกให้ใบพัดหมุนต่อไปได้ทันที โดยจะมีการหมุนที่สลับทิศไปมา
3. ลูกหวือหรือลูกหึ่ง ---> ใช้หลักการเดียวกันกับ กำหมุนหรือคอปเตอร์ไม้ไผ่ คือ หลักการของ ความเฉื่อย
นางสาวศิริลักษณ์ ดำทอง
รหัสนักศึกษา 5681107022
Wednesday, March 23, 2016
Tuesday, March 22, 2016
กิจกรรมปฏิบัติวันนี้
1. พับกระดาษอย่างง่าย จินตนาการดัดแปลงเป็นของเล่น โดยเพิ่มเติม ประกอบเพิ่มเติมโดยใช้หลักเครื่องกลหรือฟิสิกส์เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
หรือใช้วงจรอิเลคทรอนิกส์อย่างง่ายร่วมด้วย
2. ทดลองทำว่าว อย่างง่าย คำว่าว่าวติดลม หมายถึงอะไร อะธิบายด้วยหลักฟิสิกส์อย่างไร
3. ทดลอง คาร์ทีเซียนไดร์เวอร์ ลอยจมในขวดน้ำ
หรือใช้วงจรอิเลคทรอนิกส์อย่างง่ายร่วมด้วย
2. ทดลองทำว่าว อย่างง่าย คำว่าว่าวติดลม หมายถึงอะไร อะธิบายด้วยหลักฟิสิกส์อย่างไร
3. ทดลอง คาร์ทีเซียนไดร์เวอร์ ลอยจมในขวดน้ำ
หลักการทางฟิสิกส์ของของเล่น
หลักการทางฟิสิกส์ของของเล่น
สร้างแรงอัดอากาศ ในการทำจริงๆต้องใช้ไม้ไผ่สุกเพราะด้านในยังมีเยื่อไผ่
เมื่อสัมผัสกับลูกพลับพลาจะสามารถกั้นอากาศไว้ได้ดี
เมื่อลูกแรกที่บรรจุเข้าไปด้านหน้ากระบอกจะสามารถกั้นอากาศไว้
เมื่อบรรจุลูกที่สองตามหลังระหว่างลูกแรกและลูกที่สองจะมีอากาศอัดแน่นตามแรงดันของผู้เล่น
ยิ่งดันแรงเสียงดังและไปไกล
เกี่ยวข้องกับความเฉื่อย เมื่อดึงเชือกยึดติดกับแกนกลางทำให้ใบพัดหมุน
ใบพัดจะหมุนอย่างต่อเนื่องเพราะความเฉื่อย เมื่อดึงแล้วผ่อนแรงเป็นจังหวะ ใบพัดเคลื่อนที่ต่อเนื่องตลอดเวลา
เกิดโมเมนต์ความเฉื่อย คือ การที่วัตถุรักษาสภาพการหมุนอย่างต่อเนื่อง หลักการนี้อธิบาย
ในการเคลื่อนที่ของล้อรถมอเตอร์ไซค์ที่เคลื่อนที่ไประยะหนึ่งโดยเราไม่เร่งเครื่องเพื่อให้รถไป
เกี่ยวข้องกับความเฉื่อย
เมื่อเราหมุนเชือกจนตึงแล้วแล้วดึงออกมันจะหมุน เมื่อหมุนจนสุดเชือกก็จะหมุนกลับอีกครั้ง
จะเป็นแบบนี้ไปอย่างต่อเนื่องเรื่อยๆ
ถ้ายังคงรักษาสภาพการหมุนยังคงที่และหมุนอย่างต่อเนื่อง จะไม่หยุดถ้าเราใช้การผ่อนแรงที่เท่ากันเสมอ
ของเล่นพื้นบ้าน
เมื่อเราดึงเชือกที่ยึดติดกับแกนกลางใบพัดจะทำให้ใบพัดหมุน
เมื่อปล่อยมือ ใบพัดจะหมุนต่อเนื่องเพราะความเฉื่อย เมื่อดึงแล้วผ่อนเป็นจังหวะ
ใบพัดจะเคลื่อนที่ต่อเนื่องตลอดเวลา เกิดจากโมเมนต์ความเฉื่อย นั่นก็คือ
การที่วัตถุรักษาสภาพการหมุนอย่างต่อเนื่อง หลักการของกำหมุนไม้ไผ่ใช้อธิบายการปั่นจักรยานแล้วปล่อยให้ล้อหมุนเอง
โดยไม่ต้องถีบ แต่จักรยานก็เคลื่อนที่ไปได้ในช่วงเวลาหนึ่งโดยไม่ต้องออกแรง

มีโมเมนต์ความเฉื่อย
เนื่องจากวัตถุจะพยายามรักษาสภาพเดิมของการหมุนเอาไว้ ดังนั้น
เชือกจึงหมุนพันกลับมาเป็นเกลียวพร้อมที่จะดึงเชือกอีกครั้ง
การหมุนของ
เมล็ดลูกยาง จะมีเสียงคราง “หวือ” ๆ ๆ ๆ ตามจังหวะกระตุกเชือก เสียง “หวือ” จะดังมาก – น้อย แค่ไหน
อยู่ที่ความเร็วในการหมุน + น้ำหนักของลูกยาง เราจึงเลือกเมล็ดโต ๆ มาทำกัน เพราะมีน้ำหนัก
หลักการของฉับโผง
คือจะสร้างแรงอัดอากาศ
เมื่อสัมผัสกับลูกกระสูน (พลับพลา)จะสามารถกั้นอากาศไว้ได้
เมื่อกระสูนลูกแรกที่บรรจุเข้าไปด้านหน้ากระบอกกั้นอากาศไว้
แล้วกระสูนลูกที่สองตามหลังระหว่างลูกแรกและลูกอัดตามหลังมีอากาศอัดแน่นตามแรงดันของผู้เล่น
ยิ่งดันแรง เสียงจะยิ่งดัง และไปได้ไกล หลักการนี้
จะเป็นหลักการเดียวกันกับปืนลูกซอง
หลักการทางฟิสิกส์ของ ของเล่นฟิสิกส์
1.ฉับโผง
หลักการทางฟิสิกส์คือ : เรื่องของแรงดันอากาศ
เมื่อกระบอกของฉับโผงถูกปิดปลายด้านหนึ่งโดยกระดาษเปียก และใช้กระดาษเปียกใส่ไปในที่ปลายอีกด้านหนึ่งเพื่อปิดไม่ให้อากาศออกไปด้านนอก หลังจากนั้นใช้ไม้อัดอัดไปที่กระดาษแรงๆเพื่อให้เกิดแรงดัน(ปริมาตรอากาศเท่าเดิมแต่พื่นที่ลดลง)และแรงดันนี้จะไปดันกระดาษที่ปลายอีกด้านหนึ่งออกไป
2. คอปเตอร์
หลักการทางฟิสิกส์คือ : โมเมนตัมเชิงมุม โมเมนต์ความเฉื่อย
เมื่อเราออกแรงดึงเชือกที่พันอยู่ที่แกนหมุนของใบพัด แกนก็จะหมุนตามด้วยเพราะหมุนและเมื่อดึงจนสุดปลายเชือกเราก็จะหยุดดึงแต่แรงที่หมุนแกนยังหมุนต่อไปได้ เพราะแกนหมุนจะมีโมเมนต์ความเฉื่อย(วัตถุจะพยายามรักษาสภาพเดิมของการหมุนเอาไว้ ) และแกนหมุนจะ หมุนเอาเชือกเข้าไปพันกับแกนอีกครั้งจนสุดเชือกเราก็ออกแรงดึงอีกและแรงนี้ก็จะส่งไปยังแกนหมุนและแกนหมุนจะหมุนจนสุดเชือกและเก็บเชือกไปอีกเป็นอย่างนี้ทุกครั้ง
3. ลูกหวือ
หลักการทางฟิสิกส์คือ : โมเมนต์ความเฉื่อย
เมื่อเราหมุนให้เชือกพันกันหลายๆรอบและดึงให้ตึง ลูกหวือก็จะหมุนตามเกลียวที่เราหมุนไว้ และเมือหมุนจนหมดเกลียวลูกหวือก็ยังหมุนต่อไปเพราะมีโมเมนต์ความเฉื่อย (วัตถุจะพยายามรักษาสภาพเดิมของการหมุนเอาไว้ ) หมุนจนเชือพันเป็นเกลียวอีกครั้ง (เราจะหย่อนเชือกเพื่อให้เชือหมุนได้หลายรอบ) หลังจากที่เชือกหมุนจนได้หลายรอบเราก็ดึงเชือกให้ตึงเพื่อให้เพื่อให้เกลียวหมุนกลับ เป้นอย่างนี้ทุกครั้ง
หลักการทางฟิสิกส์คือ : เรื่องของแรงดันอากาศ
เมื่อกระบอกของฉับโผงถูกปิดปลายด้านหนึ่งโดยกระดาษเปียก และใช้กระดาษเปียกใส่ไปในที่ปลายอีกด้านหนึ่งเพื่อปิดไม่ให้อากาศออกไปด้านนอก หลังจากนั้นใช้ไม้อัดอัดไปที่กระดาษแรงๆเพื่อให้เกิดแรงดัน(ปริมาตรอากาศเท่าเดิมแต่พื่นที่ลดลง)และแรงดันนี้จะไปดันกระดาษที่ปลายอีกด้านหนึ่งออกไป
2. คอปเตอร์
หลักการทางฟิสิกส์คือ : โมเมนตัมเชิงมุม โมเมนต์ความเฉื่อย
เมื่อเราออกแรงดึงเชือกที่พันอยู่ที่แกนหมุนของใบพัด แกนก็จะหมุนตามด้วยเพราะหมุนและเมื่อดึงจนสุดปลายเชือกเราก็จะหยุดดึงแต่แรงที่หมุนแกนยังหมุนต่อไปได้ เพราะแกนหมุนจะมีโมเมนต์ความเฉื่อย(วัตถุจะพยายามรักษาสภาพเดิมของการหมุนเอาไว้ ) และแกนหมุนจะ หมุนเอาเชือกเข้าไปพันกับแกนอีกครั้งจนสุดเชือกเราก็ออกแรงดึงอีกและแรงนี้ก็จะส่งไปยังแกนหมุนและแกนหมุนจะหมุนจนสุดเชือกและเก็บเชือกไปอีกเป็นอย่างนี้ทุกครั้ง
3. ลูกหวือ
หลักการทางฟิสิกส์คือ : โมเมนต์ความเฉื่อย
เมื่อเราหมุนให้เชือกพันกันหลายๆรอบและดึงให้ตึง ลูกหวือก็จะหมุนตามเกลียวที่เราหมุนไว้ และเมือหมุนจนหมดเกลียวลูกหวือก็ยังหมุนต่อไปเพราะมีโมเมนต์ความเฉื่อย (วัตถุจะพยายามรักษาสภาพเดิมของการหมุนเอาไว้ ) หมุนจนเชือพันเป็นเกลียวอีกครั้ง (เราจะหย่อนเชือกเพื่อให้เชือหมุนได้หลายรอบ) หลังจากที่เชือกหมุนจนได้หลายรอบเราก็ดึงเชือกให้ตึงเพื่อให้เพื่อให้เกลียวหมุนกลับ เป้นอย่างนี้ทุกครั้ง
Tuesday, March 15, 2016
กิจกรรมวันนี้
1. มองในกระจกแล้วเขียนหนังสือ
2. สร้างควันไฟด้วยกลักไม้ขีด
3.ยกเหรียญด้วยหลอดดูด
4.รินน้ำด้วยเชือก
5.พับกระดาษพื้นฐาน
2. สร้างควันไฟด้วยกลักไม้ขีด
3.ยกเหรียญด้วยหลอดดูด
4.รินน้ำด้วยเชือก
5.พับกระดาษพื้นฐาน
Tuesday, March 8, 2016
หลักการทางฟิสิกส์ที่ใช้ ก็จง
หลักการข้อ 1 กฎของนิวตัน ในเรื่องความเชื่อ อธิบายเรื่อง ลูกหวือ และคอปเตอร์
Subscribe to:
Posts (Atom)